1. ปฏิทินภาษีอากร 2565 สำหรับผู้เสียภาษี และนักบัญชี | Prosoft ERP
  2. ยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ต
  3. สมัคร ยื่น แบบ ภ พ 30 ทาง อินเทอร์เน็ต
  4. ลง ทะเบียน ยื่น แบบ ภพ 30 ทาง อินเทอร์เน็ต
  5. การยื่นแบบ ภ.ง.ด.50 ทางอินเทอร์เน็ต ต้องแนบบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาด
  6. ยื่น แบบ ภ งด 91 ทาง อินเทอร์เน็ต
  7. ข่าวดี! เลื่อนยื่น "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา" ทางอินเตอร์เน็ต ถึง 30 มิ.ย.64 • VistaBizView - การเงิน การลงทุน หุ้น อสังหาริมทรัพย์ ยานยนต์

ศ. 2546 ด้วย จึงได้ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 296) เรื่อง กำหนดการยื่นแบบแสดงรายการภาษี การชำระภาษี และสถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี ลงวันที่ 17 พฤษภาคม พ. 2560 ให้ยกเลิกความในข้อ 7 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 127) (เรื่องเดียวกัน) ลงวันที่ 17 เมษายน พ. 2546 ด้วยข้อความใหม่ดังกล่าว โดยให้มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที 25 กุมภาพันธ์ พ. 2559 เป็นต้นไป อันเป็นวันที่เดียวกับที่บทบัญญัติมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลรัษฎากร (ฉบับที่ 41) พ. ศ. 2559 มีผลใช้บังคับ เพื่อมิให้เป็นการฝ่าฝืนกฎหมายดังกล่าว 5. อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การแก้ปํญหาดังกล่าว และเป็นการบรรเทาภาระค่าปรับอาญา อธิบดีกรมสรรพากร อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 3 อัฏฐ วรรคหนึ่ง แห่งประมวลรัษฎากร ได้ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร ลงวันที่ 17 พฤษภาคม พ. 2560 โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ. 2559 เป็นต้นไป โดยขยายกำหนดเวลาการยื่นบัญชีงบดุล บัญชีทำการ บัญชีรายรับ รายจ่าย หรือบัญชีรายรับก่อนหักรายจ่ายที่มีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ตรวจสอบและรับรองในรอบระยะเวลาบัญชี ตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่มีวันสุดท่ายแห่งกำหนดเวลาในการยื่นบัญชีดังกล่าว ตั้งแต่วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.

ปฏิทินภาษีอากร 2565 สำหรับผู้เสียภาษี และนักบัญชี | Prosoft ERP

2559 เป็นต้นไป" ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 296) เรื่อง กำหนดการยื่นแบบแสดงรายการภาษี การชำระภาษี และสถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี ลงวันที่ 17 พฤษภาคม พ. 2560 ให้ยกเลิกความในข้อ 7 ของประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 127) (เรื่องเดียวกัน) ลงวันที่ 17 เมษายน พ. 2546 มีดังนี้ "ข้อ 7 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีตามข้อ 1 ต้องมีบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน บัญชีรายรับ รายจ่าย หรือบัญชีรายรับก่อนหักรายจ่ายที่มีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ตรวจสอบและรับรองในรอบระยะเวลาบัญชี แล้วแต่กรณี ตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร และต้องเก็บรักษาไว้ ณ สำนักงานใหญ่ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น เป็นเวลาไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันสุดท้ายของการยื่นแบบแสดงรายการภาษีของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น" การที่กำหนดให้ใช้ข้อความใหม่แทนข้อความเดิมดังกล่าวนั้น ขอลำดับความเข้าใจเกี่ยวกับการยื่นแบบ ภ. 50 ดังนี้ 1. 50 เป็นไปตามมาตรา 68 และมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งโดยทั่วไปต้องยื่นด้วยแบบพิมพ์กระดาษตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรกำหนด ตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 16) เรื่อง กำหนดแบบแสดงรายการเกี่ยวกับภาษีเงินได้ของบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.

  1. 20 ประโยชน์ที่ได้จากน้ำขิงสร้างภูมิคุ้มกัน ต้านโควิด
  2. Asus x453sa ราคา
  3. เงิน เซ็น($)คิดยังไงให้เป็นบาท(฿)หรอคับ - Pantip
  4. วัฒนธรรม การ ใช้ ภาษา จีน
  5. ยื่น แบบ ภ งด 94 ทาง อินเทอร์เน็ต
  6. ยื่นแบบทางอินเตอร์เน็ต
  7. สรรพากร ขยายเวลายื่นแบบ ภาษีเงินได้ ผ่านอินเตอร์เน็ต | Thaiger ข่าวไทย
  8. บ้าน หลัก ล้าน
  9. ราคา digital power météo france
สมัคร ยื่น แบบ ภ พ 30 ทาง อินเทอร์เน็ต

50 เกินกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2, 000 บาท และ (2) กรณีฝ่าฝืนมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ไม่นำส่งบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน ที่มีบุคคลตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวลรัษฎากร ตรวจสอบและรับรองในรอบระยะเวลาบัญชี แล้วแต่กรณี ตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ภายในกำหนดเวลาตามมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2, 000 บาท ซึ่งกลายเป็นว่า หากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดยื่นแบบ ภ. 50 ล่าช้า ต้องระวางโทษอาญาตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งกรมสรรพากรเปรียบเทียบโดยกำหนดค่าปรับแต่เพียงสถานเดียวตามความในมาตรา 3 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ กรณียื่นแบบ ภ. 50 ภายใน 7 วัน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลาการยื่นแบบ ต้องระวางโทษปรับ 1, 000 + 1, 000 บาท รวมเป็น 2, 000 บาท และ กรณียื่นแบบ ภ. 50 เกินกว่า 7 วัน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลาการยื่นแบบ ต้องระวางโทษปรับ 2, 000 + 2, 000 บาท รวมเป็น 4, 000 บาท 4. กรมสรรพากรเกิดคิดได้ว่า การแก้ไขเพิ่มเติมบทลงโทษตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร นั้น กินความไปถึงการยื่นแบบ ภ. 50 ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทางเว็บไซต์ ( Web Site) ของกรมสรรพากร โดยประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 127) (เรื่องเดียวกัน) ลงวันที่ 17 เมษายน พ.

2525 โดยต้องแนบบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนไปพร้อมกับแบบ ภ. 50 นั้นเสียด้วย กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดยื่นแบบ ภ. 50 ล่าช้า ต้องระวางโทษอาญาตามมาตรา 35 แห่งประมวลรัษฎากร ซึ่งกรมสรรพากรเปรียบเทียบโดยกำหนดค่าปรับแต่เพียงสถานเดียวตามความในมาตรา 3 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร ดังนี้ กรณียื่นแบบ ภ. 50 ภายใน 7 วัน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลาการยื่นแบบ ต้องระวางโทษปรับ 1, 000 บาท และ กรณียื่นแบบ ภ. 50 เกินกว่า 7 วัน นับแต่วันพ้นกำหนดเวลาการยื่นแบบ ต้องระวางโทษปรับ 2, 000 บาท กรณีมีเงินภาษีที่ต้องชำระ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบคุคลนั้น ยังต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มในอัตราร้อยละ 1. 5 ต่อเดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีที่ต้องชำระ ตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร อีกด้วย 2. ต่อมาอธิบดีกรมสรรพากรได้ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 127) ลงวันที่ 17 เมษายน พ. 2546 กำหนดให้การยื่นรายการข้อมูลตามแบบแสดงรายการภาษีดังต่อไปนี้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทางเว็บไซต์ ( Web Site) ของกรมสรรพากร เป็นการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตามมาตรา 68 และมาตรา 69 แห่งประมวลรัษฎากร โดยให้ใช้บังคับสำหรับการยื่นแบบ ภ.

ยื่น แบบ ภพ 30 ทาง อินเทอร์เน็ต
May 12, 2022, 11:14 pm