๑๑๕๔ (พ. ๒๓๓๕) (๖) พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ ​ (จาด) ข้อความโดยมากยุติกับฉบับหมอบรัดเล เว้นแต่เรื่องในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ตอนปลายติดต่อกันมา มีแปลกออกไปหลายแห่ง และความไม่จบถึงปลายสมัยอยุธยา คงกล่าวถึงเพียงราวรัชกาลพระเพทราชา แต่ก็ย่อรวบรัดตัดความลงมาก และในที่บางแห่งก็ลักลั่นต่างกับพระราชพงศาวดารฉบับอื่น เช่น พระราชหัตถเลขา และฉบับพันจันทนุมาศ เฉพาะข้อความที่แปลกจากฉบับอื่นได้เคยพิมพ์แล้วอยู่ในประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๘ นอกนั้นยังไม่เคยพิมพ์ ถึงรัชกาลที่ ๔ ราว พ. ๒๓๙๘ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าฯ กับกรมหลวงวงสาธิราชสนิท ทรงช่วยกันชำระหนังสือพระราชพงศาวดารอีกครั้งหนึ่ง คือ (๗) พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา เคยพิมพ์เมื่อ พ. ๒๔๕๕ ครบเรื่องเป็นหนังสือ ๓ เล่ม ต่อมาเมื่อ พ. ๒๔๕๗ หอพระสมุดพิมพ์เล่ม ๑ อีกครั้งหนึ่ง มีคำอธิบายของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ประกอบ และต่อมา กรมศิลปากรได้อนุญาตให้บริษัทโอเดียนสโตร์พิมพ์จำหน้ายอีกครั้งหนึ่งเมื่อ พ.

ญัตติ - วิกิพจนานุกรม

ด้วยว่าประโยชน์ของตนแห่งบุคคลนั้นแล แม้ประมาณกากณิก หนึ่ง ก็ยังของควรเคี้ยวหรือของควรบริโภคให้สำเร็จได้, ประโยชน์ของ คนอื่น หาให้สำเร็จไม่. ส่วนสองบาทพระคาถาเหล่านี้ พระผู้มีพระภาค เจ้าไม่ตรัสอย่างนั้น ตรัสด้วยหัวข้อแห่งกัมมัฏฐาน. เพราะฉะนั้น ภิกษุ ตั้งใจว่า ' เราจะไม่ยังประโยชน์ของตนให้เสื่อมเสีย ' ดังนี้แล้ว ก็ไม่พึง ยังกิจมีการปฏิสังขรณ์พระเจดีย์เป็นต้น อันบังเกิดขึ้นแก่สงฆ์ หรือวัตถุมี อุปัชฌายวัตรเป็นต้นให้เสื่อมเสีย. ด้วยว่าภิกษุบำเพ็ญอภิสมาจาริกวัตร ให้สมบูรณ์อยู่แล ย่อมทำให้แจ้งซึ่งผลทั้งหลายมีอริยผลเป็นต้น. เพราะ- ฉันนั้น การบำเพ็ญวัตรให้บริบูรณ์แม้นี้ จึงชื่อว่าเป็นประโยชน์ของตนแท้. อนึ่ง ภิกษุใด มีวิปัสสนาอันปรารภยิ่งแล้ว ปรารถนาการแทง ตลอดว่า 'เราจักแทงตลอดในวันนี้ ๆ แหละ ' ดังนี้แล้ว ประพฤติอยู่. ภิกษุนั้น แม้ยังวัตรมีอุปัชฌายวัตรเป็นต้นให้เสื่อมแล้ว ก็พึงทำกิจของตน ให้ได้. ก็ภิกษุรู้จักประโยชน์ของตนเห็นปานนั้น คือกำหนดได้ว่า ่นี้ เป็นประโยชน์ตนของเรา ' พึงเป็นผู้เร่งขวนขวาย ประกอบในประโยชน์ ของตนนั้น. " ในกาลจบเทศนา พระเถระนั้น ได้ตั้งอยู่ในพระอรหัตผล เทศนา ได้เป็นประโยชน์แม้เเก่ภิกษุผู้ประชุมกันทั้งหลาย ดังนี้แล.

๑๐. เรื่องพระอัตตทัตถเถระ [๑๓๖] ข้อความเบื้องต้น พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเชตวัน ทรงปรารภพระอัตต- ทัตถเถระ ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า " อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน " เป็นต้น. พระเถระพยายามบำเพ็ญประโยชน์ ความพิสดารว่า เมื่อพระศาสดาตรัสในกาลที่จวนจะปรินิพพานว่า " ภิกษุทั้งหลาย โดยกาลล่วงไป ๔ เดือนแต่วันนี้ เราจักปรินิพพาน. " ภิกษุประมาณ ๗๐๐ รูปซึ่งยังเป็นปุถุชน เกิดความสังเวช ไม่ละสำนัก พระศาสดาเยล เที่ยวปรึกษากันว่า " ท่านผู้มีอายุ พวกเราจะทำอะไร หนอแล? " ส่วนพระอัตตทัตถเถระ คิดว่า " ข่าวว่า พระศาสดา จักปรินิพพาน โดยกาลล่วงไป ๔ เดือน. ก็ตัวเรายังเป็นผู้มีราคะไม่ไปปราศ. เมื่อพระ- ศาสดายังทรงพระชนม์อยู่นี่แหละ เราจักพยายามเพื่อประโยชน์แก่พระ- อรหัต. " พระเถระนั้น ย่อมไม่ไปสำนักของภิกษุทั้งหลาย. ลำดับนั้น ภิกษุทั้งหลายกล่าวกะท่านว่า " ผู้มีอายุ ทำไม? ท่านจึงไม่มาสำนักของ พวกกระผมเสียเลย. ท่านไม่ปรึกษาอะไร ๆ " ดังนี้แล้ว ก็นำไปสู่สำนัก พระศาสดา กราบทูลว่า " พระเจ้าข้า ภิกษุรูปนี้ ย่อมทำชื่ออย่างนี้. " พระอัตตทัตถเถระนั้น แม้พระศาสดาตรัสว่า " เหตุไร? เธอ จึงทำอย่างนั้น " ก็กราบทูลว่า " พระเจ้าข้า ข่าวว่า พระองค์จัก ปรินิพพานโดยกาลล่วงไป ๔ เดือน.

"การพูดในที่ชุมชน" คือ การพูดในที่สาธารณะ มีผู้ฟังเป็นจำนวนมาก ผู้พูดต้องสนใจปฏิกิริยาตอบสนองผู้ฟัง ทั้งเป็นวัจนภาษาและอวัจนภาษาการพูดต่อหน้าประชุมชนเป็นการเปิดโอกาส ให้ผู้พูดได้แสดง ความสามารถเฉพาะตัวเพราะทุกคนที่ไม่เป็นใบ้ย่อมพูดได้ แต่บางคนเท่านั้นที่พูดเป็น เพราะการพูดเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ไม่จำเป็นต้องอาศัยพรสวรรค์เสมอไปแต่สามารถพูดได้ เพราะการศึกษา การ ฝึกฝน ฉะนั้นการฝึกพูดในที่ประชุมชน ซึ่งเป็นวิธีที่ดีอีกวิธีหนึ่งในการปรับปรุงบุคลิกภาพทั้งภายในและภายนอกเพื่อการเป็นนักพูดที่ดี วิธีการพูดในที่ชุมชน ๑. พูดแบบท่องจำ เตรียมเรื่องพูดอย่างมีคุณค่า สาระถูกต้องเหมาะสม แล้วจำเรื่องพูดให้ได้ เวลาพูดให้เป็น ธรรมชาติ มีลีลา จังหวะ ถ่ายทอดออกมาทุกตัวอักษร ๒. พูดแบบมีต้นฉบับ พูดไปอ่านไป จากต้นร่างที่เตรียมมาอย่างดีแล้ว แต่ไม่ใช่ก้มหน้าก้มตาอ่าน เพราะไม่ใช่ ผลดีสำหรับผู้พูด ๓. พูดจากความเข้าใจ เตรียมเรื่องพูดไว้ล่วงหน้า ถ่ายทอดสารจากความรู้ความเข้าใจของตนเอง มีต้นฉบับ เฉพาะหัวข้อสำคัญเท่านั้น เช่น การพูด, สนทนา, อภิปราย, สัมภาษณ์ ๔. พูดแบบกะทันหัน พูดโดยไม่มีโอกาสเตรียมตัวเลย ซึ่งผู้พูดต้องใช้ปฏิภาณไหวพริบในการแก้ปัญหาฉพาะหน้า เมื่อทราบว่าตนเองต้องได้พูด ต้องเตรียมลำดับความคิด และนำเสนออย่างฉับพลัน การพูดทั้ง 4 แบบนี้ เป็นวิธีการนำเสนอสารต่อผู้ฟัง ผู้พูดจะใช้วิธีใดขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย เพื่ออะไร เนื้อหาสาระ โอกาส และสถานการณ์ ดูเพิ่ม [ แก้ไข] ทักษะพื้นฐานในการพูด ความสำคัญของการพูด มารยาทการพูด การพูดสุนทรพจน์

หัวข้อในการประชุมผู้ปกครอง

เนื้อหา 1 ภาษาไทย 1. 1 รากศัพท์ 1. 2 การออกเสียง 1. 3 คำนาม 1. 3. 1 คำพ้องความ ภาษาไทย [ แก้ไข] รากศัพท์ [ แก้ไข] จาก ภาษาบาลี ญตฺติ ( " การประกาศ ") การออกเสียง [ แก้ไข] การแบ่งพยางค์ ยัด-ติ การแผลงเป็น อักษรโรมัน ไพบูลย์พับบลิชชิง yát-dtì ราชบัณฑิตยสภา yat-ti ( มาตรฐาน) สัทอักษรสากล ( คำอธิบาย) /jat̚˦˥. tiʔ˨˩/ ( ส) คำนาม [ แก้ไข] ญัตติ ( พุทธ) คำ สวด ประกาศ เป็น ภาษาบาลี เสนอ ให้ ที่ ประชุม สงฆ์ ทราบ เพื่อ ทำ กิจ ของ สงฆ์ ร่วม กัน ( กฎ) ข้อเสนอ เพื่อให้ มี การดำเนินการ อย่างหนึ่งอย่างใด ใน กิจการ ของ สภา ที่ทำ หน้าที่ นิติบัญญัติ ข้อเสนอเพื่อ ลงมติ ผู้แทนราษฎรเสนอญัตติเข้าสู่สภาเพื่อขอให้ที่ประชุมลงมติว่าจะเห็นชอบด้วยหรือไม่ หัวข้อ โต้วาที โต้วาทีในญัตติว่า ขุนช้างดีกว่าขุนแผน คำพ้องความ [ แก้ไข] ( 1): คำเผดียงสงฆ์

  • ฟังวิทยุออนไลน์ 96.5 คลื่นความคิด
  • อัตรา การ ต่อ บอล
  • หัวข้อในการประชุมแต่ละครั้งเรียกว่าอะไร

ข้าพระองค์พยายามเพื่อบรรลุพระ- อรหัต ในเมื่อพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่นี่แหละ. " ผู้ปฏิบัติธรรมชื่อว่าบูชาพระศาสดา พระศาสดา ประทานสาธุการแก่พระเถระนั้นแล้ว ตรัสว่า " ภิกษุ ทั้งหลาย ผู้ใดมีความสิเนหาในเรา. ผู้นั้นควรเป็นดุจอัตตทัตถะ ด้วยว่า ชนทั้งหลายบูชาอยู่ด้วยวัตถุต่าง ๆ มีของหอมเป็นต้น ย่อมไม่ชื่อว่าบูชา เรา, ส่วนผู้บูชาอยู่ด้วยการปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ย่อมชื่อว่าบูชา เรา; เพราะฉะนั้น แม้ภิกษุรูปอื่นก็พึงเป็นเช่นอัตตทัตถะ " ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถานี้ว่า:- ๑๐. อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย อตฺตทตฺถมภิญฺญาย สทตฺถปสุโต สิยา. " บุคคลไม่พึงยังประโยชน์ของตน ให้เสื่อมเสีย เพราะประโยชน์ของคนอื่นแม้มาก รู้จักประโยชน์ ของตนแล้ว พึงเป็นผู้ขวนขวายในประโยชน์ของตน. " แก้อรรถ เนื้อความแห่งพระคาถานั้นว่า. " บุคคลผู้เป็นคฤหัสถ์ ไม่พึงยังประโยชน์ของตน แม้ประมาณ กากณิกหนึ่ง(เป็นชื่อของมาตราเงินอย่างต่ำที่สุด แทบไม่มีค่าเสียเลย แต่ในที่นี้ เป็นคุณบทของคำว่า ประโยชน์ จึงหมายความว่า ประโยชน์ของตนแม้น้อย จนไม่รู้จะประมาณได้ว่าเท่าไหน ก็ไม่ ควรให้เสียไป. )ให้เสื่อมเสีย เพราะประโยชน์ของคนอื่น แม้ประมาณค่าตั้ง พันทีเดียว.

หัวข้อในการประชุมแต่ละครั้งเรียกว่าอะไร

ศ. ๒๒๒๓ มีบานแผนกบอกไว้ ดังนี้ "ศุภมัสดุ ๑๐๒๔ ศก วอกนักษัตร ณ วันพุธ เดือน ๕ ขึ้น ๑๒ ค่ำ ทรงพระกรุณาโปรดเหนือเกล้าเหนือกระหม่อมสั่งว่า ให้เอากฎหมายเหตุของพระโหราเขียนไว้แต่ก่อน และกฎหมายเหตุซึ่งหาได้แต่หอหนังสือ และเหตุซึ่งมีในพระราชพงศาวดาร ​ นั้น ให้คัดเข้าดัวยกันเป็นแห่งเดียว ให้ระดับศักราชกันมาคุงเท่าบัดนี้" พระราชพงศาวดารฉบับนี้ ความขึ้นต้นแต่แรกสถาปนาพระพุทธรูปพระเจ้าแพนงเชิงเมื่อปีชวด จุลศักราช ๖๘๖ (พ. ๑๘๖๗) และแรกสร้างกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยาเมื่อปีขาล จุลศักราช ๗๑๒ (พ. ๑๘๙๓) สืบมาจนถึงปีมะโรง จ. ๙๖๖ (พ. ๒๑๔๗) ตอนปลายรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช พิมพ์แล้วอยู่ในหนังสือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๑ ต่อมาในชั้นกรุงเก่านั้นเอง เห็นจะเป็นในแผ่นเินสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ มีรับสั่งให้แต่งพระราชพงศาวดารขึ้นอีกฉบับหนึ่ง คือ (๒) พระราชพงศาวดาร ฉบับจำลอง จ. ๑๑๓๖ (พ. ๒๓๑๗) กรมศิลปากรได้ปลีกมาเป็นสมุดไทยเล่ม ๑ เป็นฉบับหลวงเขียนครั้งกรุงธนบุรี ว่าด้วยเรื่องราวตอนปลายรัชกาลสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ สำนวนแต่งใกล้เกือบจะถึงสำนวนในฉบับหลวงประเสริฐ พิมพ์แล้วอยู่ในประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๔ และ (๓) พระราชพงศาวดาร ฉบับจำลอง จ.

May 12, 2022, 9:38 pm